Amanda Phingbodhipakkiya is a multidisciplinary artist, educator, and activist. As artist-in-residence with the NYC Commission on Human Rights, Phingbodhipakkiya’s art series celebrating the resilience of the AAPI community, I Still Believe in Our City, reached millions in New York City and worldwide through her Atlantic Terminal billboard, subway domination, and social media amplification. In the wake of the Atlanta shootings in March 2021, art from the series appeared on the cover of TIME magazine. From large-scale murals, augmented reality (AR) experiences, 3D printed sculptures, and interactive installations, Phingbodhipakkiya makes the invisible, visible. She has explored microscopic universes, familial memories, and the power of collective action, challenging viewers to rethink the world around them and revealing the often unseen depth, resilience, and beauty of marginalized communities. Her work has been shown at the Cooper Union, Times Square, Google, Lincoln Center, and recognized by The New York Times, Fast Company, and the Guardian. She has received support from the Sloan Foundation, the Café Royal Cultural Foundation, and the Jerome Foundation. Her work is held in permanent collections at the Goldwell Open Air Museum, the Library of Congress, the Museum of Chinese in America (MOCA) and the Victoria and Albert Museum in London. Earlier in her career, Phingbodhipakkiya worked as a researcher studying Alzheimer’s Disease at Columbia Medical Center and received her MFA from Pratt Institute. She is currently working on FINDINGS, a national mural series celebrating women and science, in partnership with the Heising-Simons Foundation.
อแมนด้า พึ่งโพธิปักขิยะเป็นศิลปินสหวิยาการ นักการศึกษา และนักเคลื่อนไหว ในฐานะศิลปินพำนักใน เอนวายซี คอมมิชชั่น ออน ฮิวแมนไรท์ส์ ชุดผลงาน I Still Believe in Our City ของพึ่งโพธิปักขิยะ ที่เฉลิมฉลองภาวะไม่จำยอมของกลุ่มคนชาวเอเชียอเมริกันและชาวเกาะแปซิฟิก (AAPI) ผลงานชุดนี้ได้รับชมเป็นนับล้านครั้งทั้งในนิวยอร์กและจากทั่วโลกผ่านป้ายบิลบอร์ดบนอาคารแอตแลนติกเทอร์มินอล สถานีรถไฟใต้ดิน รวมถึงช่องทางโซเชียลมีเดีย จากเหตุการณ์ยิงกราดในแอตแลนตาเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2561ผลงานในชุดนี้ได้ถูกตีพิมพ์เป็นปกนิตยสารไทม์ ตั้งแต่ผลงานจิตรกรรมบนผนัง การสร้างโลกเสมือนจริง (AR) ประติมากรรมพิมพ์สามมิติ และศิลปะจัดวางแบบอินเตอร์แอคทีฟ พึ่งโพธิปักขิยะทำให้สิ่งที่มองไม่เห็นปรากฏตัวขึ้นได้ เธอค้นคว้าเกี่ยวกับโลกผ่านกล้องจุลทรรศน์ ความทรงจำใกล้ตัว และพลังของการรวมตัวกัน เธอท้าทายผู้ชมให้ฉุกคิดชีวิตรอบๆตัวพวกเขา และบ่อยครั้งเธอก็ช่วยเปิดให้ผู้ชมเห็นบางสิ่งในมิติที่ไม่เคยเห็น ความยืดหยุ่น และความงามของกลุ่มคนชายขอบ ผลงานของเธอได้เคยจัดแสดงอยู่ที่ คูเปอร์ยูเนียน ไทม์สแควร์ กูเกิล ลินคอล์นเซ็นเตอร์ และได้รับความสนใจจาก เดอะนิวยอร์กไทม์ส์ ฟาสต์คอมพานี และเดอะ การ์เดียน เธอได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิสโลน มูลนิธิเดอะ คาเฟ่ รอยัล คัลเจอร์รัล และมูลนิธิเจอโรม ผลงานของเธอยู่ในคอลเลคชั่นถาวรของ พิพิธภัณฑ์โกลด์เวลโอเพนแอร๋ ไลบรารี่ออฟคองเกรส พิพิธภัณฑ์ไชนีสอินอเมริกา และพิพิธภัณฑ์วิคตอเรียและอัลเบิร์ต ในลอนดอน ช่วงแรกที่เธอเริ่มประกอบอาชีพ พึ่งโพธิปักขิยะได้ทำงานเป็นนักวิจัยค้นคว้าเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ ที่โคลัมเบีย เมดดิคัล เซ็นเตอร์ และได้รับการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตในสาขาสร้างสรรค์จากสถาบันแพรตต์ ปัจจุบันเธอทำงานชื่อ FINDINGS จิตรกรรมฝาผนังยกย่องผู้หญิงและวิทยาศาสตร์ ร่วมกับมูลนิธิ ไฮซิง-ไซมอนส์