Jompet Kuswidananto studied Communications at Gadjah Mada University in Yogyakarta, and a self trained musician during the reign of New Order dictatorship. Jompet turned to the visual arts and went on to work within the local Yogyakarta art community. In 1998 and continuing to the present day, he has worked with 'Teater Garasi,'a multidisciplinary collective of artists. Jompet works across a diverse range of mediums including installation, video, sound, performance and theatre. His practice focuses on issues of unfinished businesses in the context of Indonesian history spanning from colonial wounds to the trauma of dictatorship. He investigates this theme through working on the symptoms of casual anxiety, daily taboos and regular mystification. He works mostly with found and readymade objects that bear both personal and collective narratives then constructs them as verses of poem inviting the public to enter the complexity of a story. Jompet’s works has been widely exhibited across the world including the Yokohama Triennale, 2008; the 10th Lyon Biennale, 2009; Phantoms of Asia, Asian Art Museum, San Francisco, 2012; Taboo, Museum of Contemporary Art, Sydney; 2012; Taipei Biennale, 2012; Sharjah Biennial 14, 2019, UAE. After Voices, Sherman Contemporary Art Foundation, Sydney; and On Paradise, at MAC's Grand Hornu, Belgium.In 2014, Jompet garnered a major award for emerging Asian artists, the Prudential Eye Award, for his installation work.
จอมเปท คุสวิดานันโต ศึกษาด้านการสื่อสารที่มหาวิทยาลัย Gadjah Mada ในยอกยาการ์ตา และเป็นนักดนตรีที่เรียนรู้ด้วยตัวเอง ในช่วงสมัยของระบอบเผด็จการ New Orderคุสวิดานันโตหันไปหาทัศนศิลป์และไปทำงานในชุมชนศิลปะยอกยาการ์ตาในท้องถิ่น ในปี พ.ศ. 2541 และต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน เขาได้ทำงานร่วมกับ 'Teater Garasi' ซึ่งเป็นกลุ่มศิลปินสหสาขาวิชาชีพ จอมเปททำงานบนสื่อที่หลากหลาย รวมถึงการติดตั้ง วิดีโอ เสียง และโรงละคร แนวปฏิบัติของเขามุ่งเน้นไปที่ปัญหาที่ยังไม่ได้รับการแก้ไขในบริบทของประวัติศาสตร์ชาวอินโดนีเซียตั้งแต่บาดแผลจากอาณานิคมไปจนถึงความบอบช้ำของเผด็จการ เขาคำนึงถึงเหตุการณ์เหล่านี้ผ่านงานศิลปะที่แสดงถึงอาการวิตกกังวล ขอบเขตในชีวิตประจำวัน และความลึกลับ
งานศิลปะส่วนมากของเขาสร้างมาจากสิ่งของที่ค้นพบและสำเร็จรูปที่มีทั้งเรื่องเล่าส่วนตัวและส่วนรวม จากนั้นจึงสร้างเป็นบทกวีที่เชิญชวนให้สาธารณชนเข้าสู่ความซับซ้อนของเรื่องราวในเนื่องาน ผลงานของ คุสวิดานันโตได้รับการจัดแสดงอย่างกว้างขวางทั่วโลก รวมทั้งงาน Yokohama Triennale, 2551; การแข่งขัน Lyon Biennale ครั้งที่ 10, 2552; Phantoms of Asia, พิพิธภัณฑ์ศิลปะเอเชีย, ซานฟรานซิสโก, 2555; Taboo, พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัย, ซิดนีย์; 2555; ไทเป เบียนนาเล่, 2555; Sharjah Biennial 14,2562, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ After Voices มูลนิธิศิลปะร่วมสมัยเชอร์แมน ซิดนีย์; และ On Paradise ที่ MAC's Grand Hornu ประเทศเบลเยียม ในปี 2557 Jompet ได้รับรางวัลใหญ่สำหรับศิลปินหน้าใหม่แห่งเอเชีย Prudential Eye Award สำหรับงานศิลปะติดตั้งของเขา