Vasan Sitthiket was born in 1957 in Nakhon Sawan in Thailand. Currently lives and works in Bangkok and Nakhon Sawan.
Vasan Sitthiket is among Thailand’s most visible and established socially-engaged artists. He graduated from the College of Fine Arts in Bangkok in 1981. Working in all media including poetry and music, he is interested in the community and citizens’ responsibility as members of Thai society in the 21st century. His concerns include rural/urban tensions, the subversion of Buddhism for political gain, abuses of power, corruption, erased history, ecology, and Thai nationalism. Vasan’s visually seductive works tackle the many ills plaguing contemporary Thai society through expressions ranging from irony and caricature to the subtlest metaphor. His work has been shown at the 1st Asia-Pacific Triennial of Contemporary Art, Brisbane (1993); Japan Foundation’s touring exhibition Asian Modernism: Diverse Developments in Indonesia, the Philippines, and Thailand (1995-1996); Venice Biennale (2003); the 6th Gwangju Biennale (2006); Making History: How Southeast Asian art reconquers the past to conjure the future (Esplanade, Singapore, 2010); Negotiating Home, History and Nation: Two decades of contemporary art in Southeast Asia (Singapore Art Museum, 2011); and The Roving Eye: contemporary art in Southeast Asia (ARTER/Koc Foundation, Istanbul, 2014), among many others. His works are in numerous institutional collections including the Singapore Art Museum, Queensland Art Gallery, Australia, Fukuoka Asian Art Museum.
วสันต์ สิทธิเขตต์ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2500 ที่จังหวัดนครสวรรค์ ประเทศไทย ปัจจุบันใช้ชีวิตและทำงานในกรุงเทพฯ และนครสวรรค์
วสันต์ สิทธิเขตต์ เป็นหนึ่งในศิลปินมีส่วนร่วมทางสังคมที่เป็นที่รู้จักและยอมรับมากที่สุดคนหนึ่งของประเทศไทย เขาสำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยช่างศิลปในปี พ.ศ. 2524 เขาทำงานกับสื่อทุกชนิดรวมทั้งบทกวีและดนตรี และมีความสนใจในความรับผิดชอบของชุมชนและพลเมืองในฐานะสมาชิกของสังคมไทยในศตวรรษที่ 21 ประเด็นที่เขาให้ความสำคัญนั้นรวมถึงความขัดแย้งระหว่างเมือง-ชนบท การโค่นล้มศาสนาพุทธเพื่อผลประโยชน์ทางการเมือง การใช้อำนาจในทางที่ผิด การทุจริต การลบล้างประวัติศาสตร์ นิเวศวิทยา และความเป็นชาตินิยมของไทย ผลงานซึ่งดึงดูดสายตาของเขานั้นพูดถึงความชั่วร้ายทั้งหลายกัดกินสังคมไทยร่วมสมัยผ่านการแสดงออกหลายรูปแบบ ตั้งแต่การประชดประชันและภาพการ์ตูนล้อเลียน ไปจนถึงการอุปมาอุปไมยที่แยบลที่สุด
ผลงานของเขาถูกจัดแสงที่ Asia-Pacific Triennial of Contemporary Art ครั้งที่ 1 ในบริสเบน (พ.ศ. 2536); นิทรรศการ Asian Modernism: Diverse Developments ของ Japan Foundation ที่จัดขึ้นในอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และไทย (พ.ศ. 2538-2539); Venice Biennale (พ.ศ. 2546); Gwangju Biennale ครั้งที่ 6 (พ.ศ. 2549); Making History: How Southeast Asian art reconquers the past to conjure the future (Esplanade, สิงคโปร์, พ.ศ. 2553); Negotiating Home, History and Nation: Two decades of contemporary art in Southeast Asia (Singapore Art Museum, พ.ศ. 2554); และ The Roving Eye: contemporary art in Southeast Asia (ARTER/Koc Foundation, Istanbul, พ.ศ. 2557), เป็นต้น ผลงานของเขาอยู่ในคอลเลกชั่นของสถาบันหลายแห่ง เช่น Singapore Art Museum, Queensland Art Gallery และ Fukuoka Asian Art Museum