Nadiah

Bamadhaj

Malaysia
1968

Nadiah Bamadhaj resides permanently in Yogyakarta, Indonesia. Trained as a sculptor in New Zealand at the Canterbury School of Fine Arts, she creates collaged drawings of a specific technique developed over many years. Her repertoire also includes sculpture, site-specific installation, digital video and print. She has lectured in Fine Arts in Kuala Lumpur, written several articles and publications on human rights in Malaysia and Indonesia, received two grants from the Nippon Foundation’s Asian Public Intellectual Fellowship in 2002 and 2004, and is currently on the board of Yayasan Kebaya, a HIV/AIDS homeless shelter in Yogyakarta. In 2019, a survey book of 18-years of her artwork ‘Nadiah Bamadhaj’ was published by Italian-based SKIRA, and she was recently featured in ‘Vitamin D3: Today's Best in Contemporary Drawing’ published by London-based PHAIDON. Her artwork currently focusses on the social intricacies of life within Indonesian society, using figure, flora and fauna, batik motif, mythology, and architecture to articulate her observations.

นาเดีย บามาดัจ อาศัยอยู่ในยกยาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย เธอผ่านการฝึกฝนเป็นประติมากรในนิวซีแลนด์ จาก Canterbury School of Fine Arts เธอสร้างภาพวาดคอลลาจโดยใช้เทคนิคเฉพาะที่พัฒนาขึ้นในช่วงเวลาหลายปี ผลงานของเธอยังรวมถึงประติมากรรม ผลงานจัดวางเฉพาะพื้นที่ วิดีโอดิจิทัล และภาพพิมพ์ เธอได้บรรยายเกี่ยวกับวิจิตรศิลป์ในกรุงกัวลาลัมเปอร์ เขียนบทความและสิ่งพิมพ์หลายฉบับเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในมาเลเซียและอินโดนีเซีย ได้รับทุนสนับสนุน Asian Public Intellectual Fellowship โดยมูลนิธิ Nippon Foundation สองครั้งในปี พ.ศ. 2545 และ 2547 และปัจจุบันเป็นคณะกรรมการของ Yayasan Kebaya ซึ่งเป็นที่พักพิงคนไร้บ้านที่ติดเชื้อเอชไอวีในยอกยาการ์ตา ในปี พ.ศ. 2562 หนังสือรวบรวมผลงานศิลปะกว่า 18 ปี ของเธอ 'Nadiah Bamadhaj' ได้รับการตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ SKIRA ในอิตาลี และเธอเพิ่งได้รับการแนะนำในหนังสือ 'Vitamin D3: Today's Best in Contemporary Drawing' ของสำนักพิมพ์ PHAIDON ในลอนดอน ปัจจุบัน งานศิลปะของเธอมุ่งเน้นไปที่ความสลับซับซ้อนทางสังคมของชีวิตในสังคมชาวอินโดนีเซีย โดยใช้รูป พืชและสัตว์เฉพาะถิ่น ลวดลายผ้าบาติก เรื่องเล่าในตำนาน และสถาปัตยกรรม เพื่อถ่ายทอดข้อสังเกตของเธอ

On Display at BAB2022