Infinity

(
2022
)
<
1
/
2
3
>
Artwork Details
Performance, sculpture and installation
Displayed at
Museum Siam, Discovery Museum

For the Bangkok Art Biennale, a traditional Thai “Huatong” longtail boat, indigenous to the South of Thailand becomes a vessel that joins Sachs’ ongoing Space Program. Through an extensive collaboration between Sachs, Tom Sachs Studio, boat builders in Krabi and the family-run boat yard at Wat Bawornmongkol, a fisherman’s longtail boat takes on its second life, ready for its next journey through time and space. In keeping with the traditions of boatmaking in Thailand as well the rituals that accompany this long-standing craft, a hybrid vessel that is a dialogue between Sachs and the craftsmen is fabricated, joined by the love of the sea and is brought to life. It was Sachs’encounter with the longtail boat of the South on his first visit to Thailand in 2012 that inspired this project and why a seafaring boat from the South of Thailand will have its lone presence on the Chao Phraya River before being installed at the Bangkok Art and Culture Center. Like the tide and wind that inform life at sea, there is no finite end to the journey, so long as the spirit of collaboration and exploration continues.

Tom Sachs, Infinity, 2022
Image courtesy of the artist.

ในบางกอกอาร์ตเบียนนาเล่เรือหางยาว “หัวโทง” แบบดั้งเดิมของไทยซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของทางภาคใต้ของประเทศไทยกลายมาเป็นพาหนะที่เข้าร่วมโครงการสำรวจอวกาศของแซคส์ที่กำลังดำเนินอยู่ ด้วยการทำงานร่วมกันอย่างเข้มข้นของแซคส์ ทอม แซคส์สตูดิโอ ช่างต่อเรือที่กระบี่และโรงเก็บเรือธุรกิจครอบครัวที่วัดบวรมงคลเรือหางยาวของชาวประมงก็ได้มีชีวิตขึ้นมาอีกครั้ง พร้อมออกเดินทางครั้งใหม่ผ่านกาลเวลาและสถานที่ ตามประเพณีการต่อเรือของไทยและพิธีกรรมต่าง ๆ ที่มาประกอบงานฝีมือที่คงอยู่มายาวนานนี้ พาหนะไฮบริดซึ่งเป็นบทสนทนาระหว่างแซคส์กับบรรดาช่างต่อเรือก็ถูกสร้างขึ้น จากความรักท้องทะเลของทั้งสองฝ่ายและมีชีวิตขึ้นมา การที่แซคส์ได้เห็นเรือหางยาวของภาคใต้เมื่อครั้งที่เขามาประเทศไทยเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2555 เป็นแรงบันดาลใจให้โครงการนี้และเป็นเหตุผลว่าทำไมเรือทะเลลำหนึ่งจากภาคใต้ของไทยจะได้มาปรากฏในแม่น้ำเจ้าพระยาสักครั้งหนึ่งก่อนจะนำไปติดตั้งที่หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เช่นเดียวกับสายน้ำและสายลมที่กำหนดวิถีชีวิตในท้องทะเลการเดินทางไม่มีที่สิ้นสุดตราบเท่าที่วิญญาณการร่วมงานและการสำรวจยังคงดำรงอยู่